สถานการณ์ ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเพิ่ม วันนี้ครูจัดกิจกรรมใส่กระดุมให้น้องตุกตา วิธีเล่นคือ ให้เด็กผลักกันใส่กระดุม ในแต่ละแบบ แต่ละขนาด แตกต่างกันไป มีเด็กคนหนึ่งติดกระดุมเพียงแบบเดียวแล้วก็ไม่ยอมติดกระดุมแบบอื่นอีก
คำถามที่ 1
ครูจะทำอย่างไรเมื่อเด็กไม่ยอมติดกระดุม
คำตอบ
ให้เด็กได้ลองทำใหม่ ชมเด็กเมื่อเด็กทำได้
คำถามที่ 2
ครูจะแนะนำอย่างไรให้เด็กยอมติดกระดุมให้ตุกตา
คำตอบ
ถ้าหนูไม่ทำหนูจะไม่ได้ไปเล่ยกันเพื่อนนะคะ และถ้าหนูทำได้ครูจะมีรางวัลให้หนูด้วยนะคะ
คำถามที่ 3
เมื่อนักเรียนยังไม่ยอมติดกระดุมให้ตุกตา ครูจะทำอย่างไร
คำตอบ
แนะนำเด็ก และประคองมือ พาเด็กทำ
คำถามที่ 4
ครูจะแนะนำผู้ปกครองอย่างไร ให้เด็กติดกระดุมได้เองเมื่ออยู่ที่บ้าน
คำตอบ
แนะนำให้ฝึกเด็กในชีวิตประจำวัน เช่น เวลาเลิกเรียน กลับถึงบ้านแล้วให้เด็กได้ฝึกแกะกระดุมเอง อาจจะใช้เวลามากในการแกะกระดุม และเวลาอาบน้ำเสร็จก็ควรให้เด็กได้ติกกระดุมเองอาจจะใช้เวลาในการติดกระดุมมากหน่อยก็ควรปล่องให้เด็กได้ทำเอา และควรให้ทำทุกวัน
บล๊อคนี้เป็นส่วนหนึ่งในการเรียน โครงการ รมป 2 ศูนย์นคราชสีมา 571031321119
วันพุธที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2558
วันอังคารที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2558
บันทึกสะท้อนคิด วันพฤหัสที่ 25 มิถุนายน 2558
สถานการณ์ ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเพิ่ม วันนี้ครูจัดกิจกรรม เลือกวัตถุที่มีขนาดใหญ่กว่าและเล็กกว่า วิธีเล่นคือ ครูจะว่างกล่องโดยไม่เรียงขนาดใว้บนโต๊ะ จำนวน 3 ชิ้น แล้วครูถามว่าชิ้นไหนเล็กที่สุด และชิ้นไหนใหญ่ที่สุด และให้เด็กนำวัตถุบนโต๊ะมาเรีบงตามขนาด จากขนาดใหญ่ไปขนาดเล็ก มีเด็กคนหนึ่งยังไม่รู้จักขนาดใหญ่ ขนาดเล็ก
คำถามที่ 1
ครูจะทำอย่างไรเมื่อเด็กไม่รู้จักขนาด
คำตอบ
ให้ดูเพื่อนเล่นเป็นตัวอย่าง ดูซ้ำๆหลายๆรอบ จนเข้าใจ
คำถามที่ 2
ครูจะแนะนำอย่างไรเมื่อเด็กยังไม่รู้จักขนาด
คำตอบ
ให้เด็กได้จับและสัมผัสวัตถุ แต่ละขนาด พร้อมอธิบายถึงความแตกต่าง
คำถามที่ 3
เมื่อนักเรียนยังไม่รู้จักขนาด ครูจะทำอย่างไร
คำตอบ
แนะนำเด็ก ประคองมือเด็ก พาเด็กทำ
คำถามที่ 4
ครูจะแนะนำผู้ปกครองอย่างไร ให้เด็กรู้จักขนาด ในขณะอยู่ที่บ้าน
คำตอบ
แนะนำให้ผู้ปกครองฝึกเด็กในชีวิตประจำวัน เช่น ขณะรับประทานอาหาร สอนให้เด็กรู้จักถ้วยใบใหญ่ ถ้วยใบเล็ก หรือของใช้ในบ้านชนิดอื่นๆที่ไม่เป็นอันตราย โดยเป็นชนิดเดียวกัน แต่มีขนาดต่างกัน ควรฝึกเด็กบ่อยๆ และเปลี่ยนอุปกรณ์ให้หลากหลาย
คำถามที่ 1
ครูจะทำอย่างไรเมื่อเด็กไม่รู้จักขนาด
คำตอบ
ให้ดูเพื่อนเล่นเป็นตัวอย่าง ดูซ้ำๆหลายๆรอบ จนเข้าใจ
คำถามที่ 2
ครูจะแนะนำอย่างไรเมื่อเด็กยังไม่รู้จักขนาด
คำตอบ
ให้เด็กได้จับและสัมผัสวัตถุ แต่ละขนาด พร้อมอธิบายถึงความแตกต่าง
คำถามที่ 3
เมื่อนักเรียนยังไม่รู้จักขนาด ครูจะทำอย่างไร
คำตอบ
แนะนำเด็ก ประคองมือเด็ก พาเด็กทำ
คำถามที่ 4
ครูจะแนะนำผู้ปกครองอย่างไร ให้เด็กรู้จักขนาด ในขณะอยู่ที่บ้าน
คำตอบ
แนะนำให้ผู้ปกครองฝึกเด็กในชีวิตประจำวัน เช่น ขณะรับประทานอาหาร สอนให้เด็กรู้จักถ้วยใบใหญ่ ถ้วยใบเล็ก หรือของใช้ในบ้านชนิดอื่นๆที่ไม่เป็นอันตราย โดยเป็นชนิดเดียวกัน แต่มีขนาดต่างกัน ควรฝึกเด็กบ่อยๆ และเปลี่ยนอุปกรณ์ให้หลากหลาย
บันทึกสะท้อนคิด วันพุธที่ 24 มิถุนายน 2558
สถานการณ์ ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเพิ่ม วันนี้ครูจัดกิจกรรม จับคู่รูปภาพตามประเภท วิธีเล่นคือ ให้เด็กแยกรูปทั้งหมด 6 ใบ ออกจากกัน แล้วนำมาจับคู่ตามประเภท ทั้ง 3 ประเภท เช่น บัตรภาพสัตว์ บัตรภาพอาหาร บัตรภาพเสื้อผ้า จับคู่กันและนำมาส่งครู มีเด็กคนหนึ่งยังไม่รู้จักแยกประเภท
คำถามที่ 1
ครูจะทำอย่างไรเมื่อเด็กแยกประเภทไม่เป็น
คำตอบ
ให้เด็กดูเพื่อนเล่นเป็นตัวอย่าง ดูซ้ำๆหลายๆรอบ จนเข้าใจ
คำถามที่ 2
ครูจะแนะนำอย่างไรเมื่อเด็กยังแยกประเภทไม่ได้
คำตอบ
วางบัตรภาพให้ดูทั้งหมด ที่ละประเภท และบอกให้รู้จัก ว่านี้คือ ภาพอะไร ประเภทอะไร
คำถามที่ 3
เมื่อนักเรียนยังไม่เข้าใจ ครูจะทำอย่างไร
คำตอบ
แนะนำเด็ก และประคองมือ พาเด็กทำ
คำถามที่ 4
ครูจะแนะนำผู้ปกครองอย่างไร ให้เด็กรู้จักแยกประเภท ขณะอยู่ที่บ้าน
คำตอบ
แนะนำให้ผู้ปกครอง วาดหรือตัด จากหนังสือ หนังสือนิตยาสาร หรือสอนจากของจริง และค่อยฝึกจาก 2 ประเภท และเมื่อเด็กทำได้ จึงเพิ่มเป็น 3 ประเภท และควรฝึกบ่อยๆ
คำถามที่ 1
ครูจะทำอย่างไรเมื่อเด็กแยกประเภทไม่เป็น
คำตอบ
ให้เด็กดูเพื่อนเล่นเป็นตัวอย่าง ดูซ้ำๆหลายๆรอบ จนเข้าใจ
คำถามที่ 2
ครูจะแนะนำอย่างไรเมื่อเด็กยังแยกประเภทไม่ได้
คำตอบ
วางบัตรภาพให้ดูทั้งหมด ที่ละประเภท และบอกให้รู้จัก ว่านี้คือ ภาพอะไร ประเภทอะไร
คำถามที่ 3
เมื่อนักเรียนยังไม่เข้าใจ ครูจะทำอย่างไร
คำตอบ
แนะนำเด็ก และประคองมือ พาเด็กทำ
คำถามที่ 4
ครูจะแนะนำผู้ปกครองอย่างไร ให้เด็กรู้จักแยกประเภท ขณะอยู่ที่บ้าน
คำตอบ
แนะนำให้ผู้ปกครอง วาดหรือตัด จากหนังสือ หนังสือนิตยาสาร หรือสอนจากของจริง และค่อยฝึกจาก 2 ประเภท และเมื่อเด็กทำได้ จึงเพิ่มเป็น 3 ประเภท และควรฝึกบ่อยๆ
บันทึกสะท้อนคิด วันอังคารที่ 23 มิถุนายน 2558
สถานการณ์ ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเพิ่ม วันนี้ครูจัดกิจกรรมเดินทรงตัวบนเส็นหรรษา วิธีเล่นคือ ให้เด็กเดินต่อเท้า จากจุดเริ่มต้นไปจนถึงเส้นชัย เดินเป็นแถว ผลัดกันเดินทีละแถว แถวละ 5 คน มีเด็กคนหนึ่งเดินทรงตัวไม่ได้ก็ไปผลักเพื่อน
คำถามที่ 1
ครูจะทำอย่างไรเมื่อเด็กแกล้งเพื่อน
คำตอบ
อธิบายเด็กว่า การแกล้งเพื่อน จะทำให้ไม่มีใครอยากเล่นด้วย
คำถามที่ 2
ครูจะแนะนำเด็กอย่างไรเมื่อเด็กแกล้งเพื่อน
คำตอบ
เล่านิทาน เรื่อง ตักแตนจอมเกเร
คำถามที่ 3
เมื่อนักเรียนไม่ยอมฟัง ยังแกล้งเพื่อนอยู่ ครูจะทำอย่างไร
คำตอบ
ให้เด็กไปนั่งสงบสติอารม อยู่ที่ข้างโต๊ะครูคนเดียว
คำถามที่ 4
ครูจะแนะนำผู้ปกครองอย่างไร ให้เด็กไม่เอาแต่ใจ แกล้งเพื่อนขณะที่อยู่บ้าน
คำตอบ
ผู้ปกครองควรฝึกให้เด็กได้รู้จักการเล่นกับเพื่อน พาไปเดินเล่นบ้าง พาไปเล่นที่บ้านเพื่อนบ้าง เพื่อฝึกการอยู่ร่วมกันในสังคม
คำถามที่ 1
ครูจะทำอย่างไรเมื่อเด็กแกล้งเพื่อน
คำตอบ
อธิบายเด็กว่า การแกล้งเพื่อน จะทำให้ไม่มีใครอยากเล่นด้วย
คำถามที่ 2
ครูจะแนะนำเด็กอย่างไรเมื่อเด็กแกล้งเพื่อน
คำตอบ
เล่านิทาน เรื่อง ตักแตนจอมเกเร
คำถามที่ 3
เมื่อนักเรียนไม่ยอมฟัง ยังแกล้งเพื่อนอยู่ ครูจะทำอย่างไร
คำตอบ
ให้เด็กไปนั่งสงบสติอารม อยู่ที่ข้างโต๊ะครูคนเดียว
คำถามที่ 4
ครูจะแนะนำผู้ปกครองอย่างไร ให้เด็กไม่เอาแต่ใจ แกล้งเพื่อนขณะที่อยู่บ้าน
คำตอบ
ผู้ปกครองควรฝึกให้เด็กได้รู้จักการเล่นกับเพื่อน พาไปเดินเล่นบ้าง พาไปเล่นที่บ้านเพื่อนบ้าง เพื่อฝึกการอยู่ร่วมกันในสังคม
บันทึกทึกสะท้อนคิด วันจันทร์ที่ 22 มิถุนายน 2558
สถานการณ์ ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเพิ่ม วันนี้ครูจัดกิจกรรม เล่นเกมส์ ถุงปริศนา วิธีเล่น คือ ให้เด็กเลือกสิ่งของใส่ลงไปในถุง 5 ชิ้น (ถุงทึบไม่สามารถมองเห็นสิ่งของที่อยู่ข้างใน) และครูจะบอกให้เด็กหยิบของที่อยู่ในถุงออกมา เช่น หยิบ หวี ซิลูก แล้วเด็กก็เลือกออกมา ให้เด็กหยิบกันคนละชิน สลับกันเล่นจนครบทุกคน มีเด็กคนหนึ่งไม่รู้จักช้อน เมื่อทำไม่ได้จึงนั่งร้องไห้
คำถามที่ 1
ครูจะทำอย่างไร เมื่อเด็กไม่รู้จักช้อน
คำตอบ
ให้เด็กได้จับ สัมผัสช้อนของจริง
คำถามที่ 2
ครูจะแนะนำเด็กอย่างไรให้เด็กได้รู้จักช้อน
คำตอบ
ให้เด็กได้ดูวีดีโอ และดูวิธีการใช้งาน
คำถามที่ 3
เมื่อนักเรียนยังไม่รู้จักช้อน ครูจะทำอย่างไร
คำตอบ
แนะนำเด็ก และอธิบายเป็นประจำทุกวัน
คำถามที่ 4
ครูจะแนะนำผู้ปกครองอย่างไร ให้เด็กได้รู้จัก ข้าวของเครื่องใช้ คณะอยู่ที่บ้าน
คำตอบ
แนะนำผู้ปกครอง ให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการทำงานบ้านบ้าง เช่น กวาดพื้นบ้าน เก็บถ้วยจานและแก้วน้ำ ให้เด็กได้ช่วยทุกวัน เด็กก็จะรู้จัก ข้าวของเครื่องใช้ไปโดยปริยาย
คำถามที่ 1
ครูจะทำอย่างไร เมื่อเด็กไม่รู้จักช้อน
คำตอบ
ให้เด็กได้จับ สัมผัสช้อนของจริง
คำถามที่ 2
ครูจะแนะนำเด็กอย่างไรให้เด็กได้รู้จักช้อน
คำตอบ
ให้เด็กได้ดูวีดีโอ และดูวิธีการใช้งาน
คำถามที่ 3
เมื่อนักเรียนยังไม่รู้จักช้อน ครูจะทำอย่างไร
คำตอบ
แนะนำเด็ก และอธิบายเป็นประจำทุกวัน
คำถามที่ 4
ครูจะแนะนำผู้ปกครองอย่างไร ให้เด็กได้รู้จัก ข้าวของเครื่องใช้ คณะอยู่ที่บ้าน
คำตอบ
แนะนำผู้ปกครอง ให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการทำงานบ้านบ้าง เช่น กวาดพื้นบ้าน เก็บถ้วยจานและแก้วน้ำ ให้เด็กได้ช่วยทุกวัน เด็กก็จะรู้จัก ข้าวของเครื่องใช้ไปโดยปริยาย
วันศุกร์ที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2558
บันทึกสะท้อนคิด วันศุกร์ที่ 19 มิถุนายน 2558
สถานการณ์ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเพิ่ม ในขณะที่พาเด็กเข้านอนมีเด็กชายคนหนึ่งนอนเล่นอวัยวะเพศตนเอง
คำถามที่ 1
ครูจะทำอย่างไรไม่ให้เด็กนอนเล่นอวัยวะเพศ
คำตอบ
ให้เด็กนักเรียนเล่นของเล่นอย่างอื่นที่เขาสนใจและเพลิดเพลินกับของเล่นชิ้นนั้นจนลืมเล่นอวัยวะเพศตนเองไปเลย
คำถามที่ 2
ครูจะแนะนำอย่างไรไม่ให้เด็กเล่นอวัยวะเพศตนเอง
คำตอบ
แนะนำให้รู้ว่ามันเป็นการกระทำที่ไม่ถูกต้อง ทำให้เสียบุคลิก และดูไม่น่ารักสมกับวัยของเด็ก
คำถามที่ 3
เมื่อนักเรียนไม่ยอมฟังแล้วยังเล่นอวัยวะเพศตนเองยุครูจะทำอย่างไร
คำตอบ
หาของเล่นอย่างอื่นมาดึงดูดความสนใจเด็กคนนั้นจนลืมเล่นอวัยวะเพศตนเองไปเอง
คำถามที่ 4
ครูจะแนะนำอย่างไรต่อผู้ปกครองเมื่อเด็กอยู่ที่บ้านไม่ให้เล่นอวัยวะเพศตนเอง
คำตอบ
การที่เด็กเล็กชอบจับอวัยวะเพศเล่นนั้นเขายังไม่มีความรู้สึกทางเพศแต่เป็นความรู้สึกทั่วๆไปเท่านั้นแต่มันคือความรู้สึกที่ทำแล้วรู้สึกสบายเท่านั้นเมื่ทำบ่อยๆๆก็จะติดเป็นนิสัยและเลิกยาก เมื่อถึงคราวจะให้เลิกก็จะเกิดปฏิกิริยาต่อต้าน ดังนั้นคุณแม่ควรกล่าวกล่าวตักเตือนลูกโดยไม่ให้ลูกตกใจและคิดว่าผิดมากมาย วิธีที่ถูกคือเบี่ยงเบนความสนใจและให้เค้าเล่นอย่างอื่นจนลืมเล่นอวัยวะเพศไปหรือค่อยๆลดลงไปเอง
คำถามที่ 1
ครูจะทำอย่างไรไม่ให้เด็กนอนเล่นอวัยวะเพศ
คำตอบ
ให้เด็กนักเรียนเล่นของเล่นอย่างอื่นที่เขาสนใจและเพลิดเพลินกับของเล่นชิ้นนั้นจนลืมเล่นอวัยวะเพศตนเองไปเลย
คำถามที่ 2
ครูจะแนะนำอย่างไรไม่ให้เด็กเล่นอวัยวะเพศตนเอง
คำตอบ
แนะนำให้รู้ว่ามันเป็นการกระทำที่ไม่ถูกต้อง ทำให้เสียบุคลิก และดูไม่น่ารักสมกับวัยของเด็ก
คำถามที่ 3
เมื่อนักเรียนไม่ยอมฟังแล้วยังเล่นอวัยวะเพศตนเองยุครูจะทำอย่างไร
คำตอบ
หาของเล่นอย่างอื่นมาดึงดูดความสนใจเด็กคนนั้นจนลืมเล่นอวัยวะเพศตนเองไปเอง
คำถามที่ 4
ครูจะแนะนำอย่างไรต่อผู้ปกครองเมื่อเด็กอยู่ที่บ้านไม่ให้เล่นอวัยวะเพศตนเอง
คำตอบ
การที่เด็กเล็กชอบจับอวัยวะเพศเล่นนั้นเขายังไม่มีความรู้สึกทางเพศแต่เป็นความรู้สึกทั่วๆไปเท่านั้นแต่มันคือความรู้สึกที่ทำแล้วรู้สึกสบายเท่านั้นเมื่ทำบ่อยๆๆก็จะติดเป็นนิสัยและเลิกยาก เมื่อถึงคราวจะให้เลิกก็จะเกิดปฏิกิริยาต่อต้าน ดังนั้นคุณแม่ควรกล่าวกล่าวตักเตือนลูกโดยไม่ให้ลูกตกใจและคิดว่าผิดมากมาย วิธีที่ถูกคือเบี่ยงเบนความสนใจและให้เค้าเล่นอย่างอื่นจนลืมเล่นอวัยวะเพศไปหรือค่อยๆลดลงไปเอง
วันพฤหัสบดีที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2558
บันทึกสะท้อนคิด วันพฤหัสที่ 18 มิถุนายน 2558
วันไหว้ครู
วันนี้ทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเพิ่ม ได้จักกิจกรรมวันไหว้ครู ประจำปี 2558
ปัญหาที่เจอในวันนี้เด็กนั่งรอทำกิจกรรมนานไม่ได้ เล่นดอกไม้จนพังหมด
วิธีที่จะแก้ไข ให้เด็กทะสมาธิแต่ก็ได้แค่แป๊บเดียว
สิ่งที่คาดหวังในการแก้ปัญหาครั้งต่อไปจะต้องกระชับเวลาให้น้อยกว่าเดิม เพราะเด็กมักจะอยู่นิ่งนาน ๆ ไม่ได้
วันนี้ทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเพิ่ม ได้จักกิจกรรมวันไหว้ครู ประจำปี 2558
ปัญหาที่เจอในวันนี้เด็กนั่งรอทำกิจกรรมนานไม่ได้ เล่นดอกไม้จนพังหมด
วิธีที่จะแก้ไข ให้เด็กทะสมาธิแต่ก็ได้แค่แป๊บเดียว
สิ่งที่คาดหวังในการแก้ปัญหาครั้งต่อไปจะต้องกระชับเวลาให้น้อยกว่าเดิม เพราะเด็กมักจะอยู่นิ่งนาน ๆ ไม่ได้
วันพุธที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2558
บันทึกสะท้อนคิด วันพุธที่ 17 มิถุนายน 2558
สถานการณ์ ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเพิ่ม มีเด็กคนหนึ่งต้องลูกบอลจากเพื่อนแล้วไปแย่งเพื่อน พอแย่งมาไม่ได้ ก็ร้องและนอนดิ้นบนพื้น
คำถามที่ 1
ครูจะทำอย่างไรไม่ให้เด็กนอนดิ้นบนพื้น
คำตอบ
ปลอบเด็ก อ้มเด็ก อธิบายและให้กำลังใจ
คำถามที่ 2
ครูแนะนำอย่างไร เมื่อเด็กนอนดิ้นบนพื้น
คำตอบ
ไม่นอนบนพื้นนะคะ เพราะมันสกปรก เดี๋ยวหนอนจะเข้าหูนะคะ
คำถามที่ 3
เมื่อนักเรียนไม่ยอมฟัง ยังนอนดิ้นบนพื้นอยู่ครูจะทำอย่างไร
คำตอบ
เบี่ยงเบนความสนใจ ให้เด็กไปเล่นอย่างอื่น เช่น ชิงช้า ม้าหมุน
คำถามที่ 4
ครูจะแนะนำผู้ปกครองอย่างไร เมื่ออยู่ที่บ้าน ไม่ให้เด็กนอนดิ้นบนพื้น
คำตอบ
พฤติกรรมกรี๊ด ร้องไห้ โวยวาย เป็นพฤติกรรมที่สามารถพบเห็นได้บ่อยในเด็กที่มีความต้องการพิเศษทุกประเภท โดยเฉพาะเด็กที่ยังพูดสื่อสาร/บอกความต้องการได้ไม่ดี แต่พฤติกรรมเหล่านี้ในเด็กทั่วไป
ก่อนอื่นอยากจะให้ผู้ปกครอง ได้เรียนรู้ในการหาต้นเหตุของปัญหาอย่างมีระบบ เมื่อปกครองเข้าใจแนวทางในการวิเคราะห์พฤติกรรมแล้ว ก็ง่ายที่จะจัดการกับพฤติกรรมดังกล่าวในสถานการณ์ต่างๆได้
เพิกเฉย ไม่สนใจ จะร้อง จะดิ้น โวยวาย ปล่อยเขาไป ใช้ความนิ่งสยบความเคลื่อนไหว แต่วิธีนี้เป็นวิธีที่ผู้ปกครองต้องมีความใจแข็ง เพราะเด็กเขาจะร้องไห้เสียงดังขึ้น และร้องอยู่นาน ถ้าเรายังไม่เข้าไปสนใจเขา และถ้าร้องนานแล้วเรายังไม่เข้าไปสนใจเขา เขาอาจจะวิ่งมาหาเรา แต่ถ้าเขาวิ่งมาหาเราแล้วยังร้องไห้ โวยวายไม่หยุด ก็ไม่ต้องสนใจ และพยายามพูดด้วยน้ำเสียงที่เรียบแต่หนักแน่นว่า "คุณแม่ฟังไม่รู้เรื่อง หยุดร้องไห้ และพูดดีๆ" และไม่ต้องพูดอะไรมาก เราก็เฉยๆ ทำงานอะไรอยู่ก็ทำไป แต่ที่แน่ๆ เวลาที่น้องมีพฤติกรรมเหล่านี้ อย่าเดินหนี อย่าพูดว่าไม่รัก หรืออย่าพูดแข่งกับน้อง/สอนน้องขณะที่น้องยังร้องไห้ โวยวาย กรี๊ด เพราะเขาจะไม่ฟังอะไร และที่สำคัญคุณพ่อคุณแม่ มักใจอ่อน และสงสารน้อง เวลาที่น้องร้องไห้นาน สุดท้ายก็ยอมเขา ถ้าผู้ปกครองยอมเขา เขาก็จะใช้วิธีนี้กับผู้ปกครองตลอด และลูกของท่านก็จะแสวงหาสารพัดวิธีมาใช้กับคุณเพื่อให้คุณยอมเขา
คำถามที่ 1
ครูจะทำอย่างไรไม่ให้เด็กนอนดิ้นบนพื้น
คำตอบ
ปลอบเด็ก อ้มเด็ก อธิบายและให้กำลังใจ
คำถามที่ 2
ครูแนะนำอย่างไร เมื่อเด็กนอนดิ้นบนพื้น
คำตอบ
ไม่นอนบนพื้นนะคะ เพราะมันสกปรก เดี๋ยวหนอนจะเข้าหูนะคะ
คำถามที่ 3
เมื่อนักเรียนไม่ยอมฟัง ยังนอนดิ้นบนพื้นอยู่ครูจะทำอย่างไร
คำตอบ
เบี่ยงเบนความสนใจ ให้เด็กไปเล่นอย่างอื่น เช่น ชิงช้า ม้าหมุน
คำถามที่ 4
ครูจะแนะนำผู้ปกครองอย่างไร เมื่ออยู่ที่บ้าน ไม่ให้เด็กนอนดิ้นบนพื้น
คำตอบ
พฤติกรรมกรี๊ด ร้องไห้ โวยวาย เป็นพฤติกรรมที่สามารถพบเห็นได้บ่อยในเด็กที่มีความต้องการพิเศษทุกประเภท โดยเฉพาะเด็กที่ยังพูดสื่อสาร/บอกความต้องการได้ไม่ดี แต่พฤติกรรมเหล่านี้ในเด็กทั่วไป
ก่อนอื่นอยากจะให้ผู้ปกครอง ได้เรียนรู้ในการหาต้นเหตุของปัญหาอย่างมีระบบ เมื่อปกครองเข้าใจแนวทางในการวิเคราะห์พฤติกรรมแล้ว ก็ง่ายที่จะจัดการกับพฤติกรรมดังกล่าวในสถานการณ์ต่างๆได้
เพิกเฉย ไม่สนใจ จะร้อง จะดิ้น โวยวาย ปล่อยเขาไป ใช้ความนิ่งสยบความเคลื่อนไหว แต่วิธีนี้เป็นวิธีที่ผู้ปกครองต้องมีความใจแข็ง เพราะเด็กเขาจะร้องไห้เสียงดังขึ้น และร้องอยู่นาน ถ้าเรายังไม่เข้าไปสนใจเขา และถ้าร้องนานแล้วเรายังไม่เข้าไปสนใจเขา เขาอาจจะวิ่งมาหาเรา แต่ถ้าเขาวิ่งมาหาเราแล้วยังร้องไห้ โวยวายไม่หยุด ก็ไม่ต้องสนใจ และพยายามพูดด้วยน้ำเสียงที่เรียบแต่หนักแน่นว่า "คุณแม่ฟังไม่รู้เรื่อง หยุดร้องไห้ และพูดดีๆ" และไม่ต้องพูดอะไรมาก เราก็เฉยๆ ทำงานอะไรอยู่ก็ทำไป แต่ที่แน่ๆ เวลาที่น้องมีพฤติกรรมเหล่านี้ อย่าเดินหนี อย่าพูดว่าไม่รัก หรืออย่าพูดแข่งกับน้อง/สอนน้องขณะที่น้องยังร้องไห้ โวยวาย กรี๊ด เพราะเขาจะไม่ฟังอะไร และที่สำคัญคุณพ่อคุณแม่ มักใจอ่อน และสงสารน้อง เวลาที่น้องร้องไห้นาน สุดท้ายก็ยอมเขา ถ้าผู้ปกครองยอมเขา เขาก็จะใช้วิธีนี้กับผู้ปกครองตลอด และลูกของท่านก็จะแสวงหาสารพัดวิธีมาใช้กับคุณเพื่อให้คุณยอมเขา
วันอังคารที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2558
บันทึกสะท้อนคิด วันอังคารที่ 16 มิถุนายน 2558
สถานการณ์ ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเพิ่ม ในขณะที่ครูให้นักเรียนเล่นตามอัธยาศัย ในมุมเสริมประสบการณ์ต่างๆ มีเด็กคนหนึ่ง ได้โยนของเล่นใส่เพื่อน เพราะรู้สึกไม่พอใจ
คำถามที่ 1
ครูจะทำอย่างไรไม่ให้เด็ก ขว้างปาสิ่งของ
คำตอบ
เล่านิทานเรื่อง"จักจั่นจอมเกเร"เป็นนิทานเกี่ยวกับการโยนของใส่เพื่อน ๆ
คำถามที่ 2
ครูจะแนะนำอย่างไร ไม่ให้เด็กขว้างปาสิ่งของ
คำตอบ
ถ้าหนูโยนของเล่น ของเล่นก็จะพัง และก็จะไม่มีให้หนูได้เล่นอีกในวันต่อไป
คำถามที่ 3
เมื่อนักเรียนไม่ยอมเลิกขว้างปาสิ่งของครูจะทำอย่างไร
คำตอบ
พานักเรียนออกไปเล่นโยนลูกบอลที่สนาม
คำถามที่ 4
ครูจะแนะนำผู้ปกครองอย่างไร ไม่ให้เด็กขว้างปาสิ่งของ เมื่ออยู่ที่บ้าน
คำตอบ
ความจริงที่ว่าลูกชอบขว้างปาสิ่งของนั้นไม่ใช่ปัญหา แต่ที่เป็นประเด็นก็คือ ลูกขว้าง"อะไร"และเนื่องจากคุณพ่อหรือคุณแม่ รู้ว่าอะไรที่ลูกควรขว้างได้และอะไรที่ไม่ควรขว้าง มันขึ้นอยู่กับว่าผู้ปกครองจะบอกลูกว่าอย่างไร และบอกลูกว่าอะไรที่ควรขว้าง อะไรที่ขว้างไม่ได้ วิธีที่ดีที่สุดคือ ควรส่งเสริมให้ลูกขว้างลูกบอลหรือฟองน้ำ การเล่นโยนลูกบอลกับลูกเป็นวิธีที่ดี เพราะการเล่นโยนลูกบอลจะช่ายการพัฒนาสายตาสัมพันธ์กับมือไปพร้อม ๆ กัน นอกจากนี้ มันยังเป็นเวลาที่ดีที่ผู้ปกครองและลูกได้ใช้ทำกิจกรรมสนุก ๆ ร่วมกัน หรือจะให้มีตาข่ายบาสเก็ตบอลเล็ก ๆ ก็จะช่วยให้ลูกเพลิดเพลินกับการโยนสิ่งของด้วย
คำถามที่ 1
ครูจะทำอย่างไรไม่ให้เด็ก ขว้างปาสิ่งของ
คำตอบ
เล่านิทานเรื่อง"จักจั่นจอมเกเร"เป็นนิทานเกี่ยวกับการโยนของใส่เพื่อน ๆ
คำถามที่ 2
ครูจะแนะนำอย่างไร ไม่ให้เด็กขว้างปาสิ่งของ
คำตอบ
ถ้าหนูโยนของเล่น ของเล่นก็จะพัง และก็จะไม่มีให้หนูได้เล่นอีกในวันต่อไป
คำถามที่ 3
เมื่อนักเรียนไม่ยอมเลิกขว้างปาสิ่งของครูจะทำอย่างไร
คำตอบ
พานักเรียนออกไปเล่นโยนลูกบอลที่สนาม
คำถามที่ 4
ครูจะแนะนำผู้ปกครองอย่างไร ไม่ให้เด็กขว้างปาสิ่งของ เมื่ออยู่ที่บ้าน
คำตอบ
ความจริงที่ว่าลูกชอบขว้างปาสิ่งของนั้นไม่ใช่ปัญหา แต่ที่เป็นประเด็นก็คือ ลูกขว้าง"อะไร"และเนื่องจากคุณพ่อหรือคุณแม่ รู้ว่าอะไรที่ลูกควรขว้างได้และอะไรที่ไม่ควรขว้าง มันขึ้นอยู่กับว่าผู้ปกครองจะบอกลูกว่าอย่างไร และบอกลูกว่าอะไรที่ควรขว้าง อะไรที่ขว้างไม่ได้ วิธีที่ดีที่สุดคือ ควรส่งเสริมให้ลูกขว้างลูกบอลหรือฟองน้ำ การเล่นโยนลูกบอลกับลูกเป็นวิธีที่ดี เพราะการเล่นโยนลูกบอลจะช่ายการพัฒนาสายตาสัมพันธ์กับมือไปพร้อม ๆ กัน นอกจากนี้ มันยังเป็นเวลาที่ดีที่ผู้ปกครองและลูกได้ใช้ทำกิจกรรมสนุก ๆ ร่วมกัน หรือจะให้มีตาข่ายบาสเก็ตบอลเล็ก ๆ ก็จะช่วยให้ลูกเพลิดเพลินกับการโยนสิ่งของด้วย
วันจันทร์ที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2558
บันทึกสะท้อนคิด วันจันทร์ที่ 15 มิถุนายน 2558
สถานการณ์ ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเพิ่ม เช้าวันนี้มีเด็กหญิงคนหนึ่งเข้ามาบอกครูว่า"ครูดูซิน้องกัดเล็บอีกแล้วคะ"เด็กหญิงคนนั้นได้นั้งกัดเล็บมืออยู่ ในขณะที่ยังนั้งเล่นอยู่ที่กองทรายกับเพื่อนๆ
คำถามที่ 1
ครูจะทำอย่างไรให้เด็กไม่กัดเล็บมือ
คำตอบ
ครูจะบอกว่า"มันมีแต่เชื้อโรค จะทำให้เกิดอาการเจ็บท้องได้ และทำให้หนูไม่สะบาย"
คำถามที่ 2
ครูจะแนะนำอย่างไรให้เด็กไม่กัดเล็บมือ
คำตอบ
เล่านิทานเรื่อง "มูมู่เจ็บท้อง" เป็นนิทานที่บอกถึงโทษของการกัดเล็บ
คำถามที่ 3
เมื่อนักเรียนไม่ยอมเลิกกัดเล็บ ครูจะทำอย่างไร
คำตอบ
ให้ดูรูปภาพที่สะท้อนให้เห็นถึงโทษของการกัดเล็บ
คำถามที่ 4
ครูจะแนะนำผู้ปกครองอย่างไร ให้เด็กไม่กัดเล็บมือขณะอยู่ที่บ้าน
คำตอบ
การปลูกฝังลักษณะนิสัยที่ดีแก่เด็ก โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสะอาดและความเรียบร้อยเพราะอาจช่วยลดอันตรายที่อาจเกิดจากปัญหาบุคลิกภาพของเด็กได้ เช่น ส่งเสริมให้เด็กล้างมือบ่อยๆซึ่งนอกจากจะทำให้เด็กมีนิสัยรักความสะอาด เด็กที่กัดเล็บอาจมีความเสี่ยงต่ออันตรายจากเชื้อโรค หรือสารพิษ ที่อาจส่งผลเสียต่อร่างกาย
คำถามที่ 1
ครูจะทำอย่างไรให้เด็กไม่กัดเล็บมือ
คำตอบ
ครูจะบอกว่า"มันมีแต่เชื้อโรค จะทำให้เกิดอาการเจ็บท้องได้ และทำให้หนูไม่สะบาย"
คำถามที่ 2
ครูจะแนะนำอย่างไรให้เด็กไม่กัดเล็บมือ
คำตอบ
เล่านิทานเรื่อง "มูมู่เจ็บท้อง" เป็นนิทานที่บอกถึงโทษของการกัดเล็บ
คำถามที่ 3
เมื่อนักเรียนไม่ยอมเลิกกัดเล็บ ครูจะทำอย่างไร
คำตอบ
ให้ดูรูปภาพที่สะท้อนให้เห็นถึงโทษของการกัดเล็บ
คำถามที่ 4
ครูจะแนะนำผู้ปกครองอย่างไร ให้เด็กไม่กัดเล็บมือขณะอยู่ที่บ้าน
คำตอบ
การปลูกฝังลักษณะนิสัยที่ดีแก่เด็ก โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสะอาดและความเรียบร้อยเพราะอาจช่วยลดอันตรายที่อาจเกิดจากปัญหาบุคลิกภาพของเด็กได้ เช่น ส่งเสริมให้เด็กล้างมือบ่อยๆซึ่งนอกจากจะทำให้เด็กมีนิสัยรักความสะอาด เด็กที่กัดเล็บอาจมีความเสี่ยงต่ออันตรายจากเชื้อโรค หรือสารพิษ ที่อาจส่งผลเสียต่อร่างกาย
วันศุกร์ที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2558
บันทึกสะท้อนคิด วันศุกร์ที่ 12 มิถุนายน 2558
ประชุมผู้ปกครอง
วันนี้ทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเพิ่ม ได้จัดประชุมผู้ปกครอง เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนให้เป็นแนวเดียวกัน ประจำปี 2558
ปัญหาที่เจอในวันนี้ในเรื่องเด็กเมื่ออยู่กับผู้ปกครองจะร้องงอแง ทำให้เกิดปัญหาในการสื่อสารกับผู้ปกครอง
วิธีที่จะแก้ปัญหา คือดึงดูดความสนใจเด็กให้มาเล่นตามมุมต่างๆตามใจชอบ เพื่อให้เด็กไม่รบกวนผู้ปกครอง
สิ่งที่คาดหวังในการแก้ปัญหาครั้งต่อไป คือการจัดเตรียมสถานที่ไว้ให้เด็กโดยเฉพาะ ในระยะที่เด็กจะมองเห็นผู้ปกครอง
วันนี้ทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเพิ่ม ได้จัดประชุมผู้ปกครอง เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนให้เป็นแนวเดียวกัน ประจำปี 2558
ปัญหาที่เจอในวันนี้ในเรื่องเด็กเมื่ออยู่กับผู้ปกครองจะร้องงอแง ทำให้เกิดปัญหาในการสื่อสารกับผู้ปกครอง
วิธีที่จะแก้ปัญหา คือดึงดูดความสนใจเด็กให้มาเล่นตามมุมต่างๆตามใจชอบ เพื่อให้เด็กไม่รบกวนผู้ปกครอง
สิ่งที่คาดหวังในการแก้ปัญหาครั้งต่อไป คือการจัดเตรียมสถานที่ไว้ให้เด็กโดยเฉพาะ ในระยะที่เด็กจะมองเห็นผู้ปกครอง
วันพฤหัสบดีที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2558
บันทึกสะท้อนคิด วันพฤหัสที่ 11 มิถุนายน 58
สถานการณ์ ณ สนามเด็กเล่นหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเพิ่ม มีเด็กคนหนึ่งไม่ชอบใส่รองเท้า เวลาใส่ก็จะนั้งร้องไห้ แล้วก็เอาเท้าถูกับพื้นจน รองเท้าหลุดออก
คำถามที่ 1
ครูจะทำอย่างไรให้เด็กยอมใส่รองเท้า
คำตอบ
เล่านิทาน เรื่องน้องดาต้าเท้าป่วย เป็นนิทานที่เกี่ยวกับโทษของการไม่ใส่รองเท้า
คำถามที่ 2
ครูจะแนะนำอย่างไรให้เด็กใส่รองเท้า
คำตอบ
ใส่รองเท้านะคะ ถ้าหนูไม่ใส่เดี๋ยวมดจะกัด ใส่รองเท้าก็เล่นได้ เหมือนเพื่อนๆนะคะ
คำถามที่ 3
เมื่อนักเรียนไม่ยอมใส่รองเท้าครูจะทำอย่างไร
คำตอบ
ประคองมือเด็กใส่รองเท้า ยิ้มแย้ม ปรบมือให้กำลังใจ และให้ใส่เป็นเวลาสั้นๆ
ใส่ 5 นาทีแล้วก็ถอดออก ใส่ 10 นาที่แล้วก็ถอดออก เพิ่มเวลาทีละนิด เพื่อให้เด็กได้ปรับตัว
คำถามที่ 4
ครูจะแนะนำผู้ปกครองอย่างไร ให้เด็กใส่รองเท้าขณะอยู่ที่บ้าน
คำตอบ
เด็กเดินอยู่ในบ้าน รองเท้าจะไม่ใช่สิ่งจำเป็น แต่ถ้าออกไปเดินบนพื้นซีเมนต์ ถนนหรือสนามหญ้า ซึ่งอาจถูกเศษอิฐหรือกรวดหนามตำได้ จึงควรใส่ รองเท้าที่แนะนำในระยะที่เริ่มใส่นี้ควรมีความแข็งปานกลางไม่อ่อนนุ่ม เกินไปเพราะจะทำให้เด็กใช้กล้ามเนื้อของเท้าและขาไม่เต็มที่ ความแข็งที่จัดว่าพอดี ก็คือขนาดพื้นรองเท้ายางรองเท้าที่หุ้มส้นสูงเหนือข้อเท้าเล็กน้อย
วันพุธที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2558
บันทึกสะท้อนคิด วันพุธที่ 10 มิถุนายน 58
สถานะการณ์ ณ สนามหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเพิ่ม วันนี้เป็นวันพุธนักเรียนใส่ชุดพละ ครูจึงพาเด็กๆออกมาเล่นที่สนาม ครูแบ่งกลุ่มเล่นโยนลูกบอล มีเด็กคนหนึ่งถือลูกบอลแน่นไม่ยอมแบ่งเพื่อน
คำถามที่ 1
ครูจะทำอย่างไรให้เด็กแบ่งลูกบอลให้เพื่อน
คำตอบ
อธิบายวิธีการเล่นที่ถูกต้องและปลอดภัย
คำถามที่ 2
ครูจะแนะนำอย่างไรให้เด็กมีส่วนร่วมกับเพื่อนๆ
คำตอบ
ถ้าหนูเล่นคนเดียวก็ไม่สนุก และหนูก็จะไม่มีเพื่อนเล่นด้วยนะคะ
คำถามที่ 3
เมื่อนักเรียนไม่ยอมโยนลูกบอลให้เพื่อน ครูจะทำอย่างไร
คำตอบ
ประคองมือเด็กให้ได้ลองทำ และปล่อยให้เด็กได้โยนลูกบอลเอง อย่างเป็นอิสระ
คำถามที่ 4
ครูจะแนะนำผู้ปกครองอย่างไร เมื่ออยู่ที่บ้าน ให้เด็กได้แบ่งปันของเล่นกับเพื่อนข้างบ้าน
คำตอบ
การมีน้ำใจแบ่งปันนั้น เป็นการกระทำที่แสดงออกถึงความรู้สึกที่ดีต่อผู้อื่นและสังคม ทำให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ผู้ปกครองควรจะฝึกให้ลูกแบ่งปันของเล่น แบ่งปันขนม ควรหัดเพียงวันละนิด และควรจะพาเด็กทำทุกวัน และควรปรบมือและกล่าวคำเชยชมให้เด็กด้วย
คำถามที่ 1
ครูจะทำอย่างไรให้เด็กแบ่งลูกบอลให้เพื่อน
คำตอบ
อธิบายวิธีการเล่นที่ถูกต้องและปลอดภัย
คำถามที่ 2
ครูจะแนะนำอย่างไรให้เด็กมีส่วนร่วมกับเพื่อนๆ
คำตอบ
ถ้าหนูเล่นคนเดียวก็ไม่สนุก และหนูก็จะไม่มีเพื่อนเล่นด้วยนะคะ
คำถามที่ 3
เมื่อนักเรียนไม่ยอมโยนลูกบอลให้เพื่อน ครูจะทำอย่างไร
คำตอบ
ประคองมือเด็กให้ได้ลองทำ และปล่อยให้เด็กได้โยนลูกบอลเอง อย่างเป็นอิสระ
คำถามที่ 4
ครูจะแนะนำผู้ปกครองอย่างไร เมื่ออยู่ที่บ้าน ให้เด็กได้แบ่งปันของเล่นกับเพื่อนข้างบ้าน
คำตอบ
การมีน้ำใจแบ่งปันนั้น เป็นการกระทำที่แสดงออกถึงความรู้สึกที่ดีต่อผู้อื่นและสังคม ทำให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ผู้ปกครองควรจะฝึกให้ลูกแบ่งปันของเล่น แบ่งปันขนม ควรหัดเพียงวันละนิด และควรจะพาเด็กทำทุกวัน และควรปรบมือและกล่าวคำเชยชมให้เด็กด้วย
วันอังคารที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2558
บันทึกสะท้อนคิดวันอังคารที่ 9 มิถุนายน 2558
สถานการณ์ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเพิ่ม มีเด็กอยู่หนึ่งคน ไม่ชอบทานผัก จึงไม่อยากทานอาหารกลางวันเพราะมีผัก
คำถามที่ 1
ครูจะทำอย่างไรให้เด็กยอมทานผัก
คำตอบ
ครูจะเล่านิทานเรื่องประโยชน์และโทษของการกินผัก
คำถามที่ 2
ครูจะแนะนำเมนูผักอะไรให้เด็กได้ลองชิม
คำตอบ
ผัดน้ำมันหอยแครอทใส่ข้าวโพดอ่อน
คำถามที่ 3
เมื่อนักเรียนไม่ยอมชิมรสชาติของอาหาร ครูจะทำอย่างไร
คำตอบ
ลองชิมคำเดียวพอ ถ้าผักมีรสชาติ ขม ครูจะเอาไปทิ้งเลยคะ
คำถามที่ 4
ครูจะแนะนำผู้ปกครองอย่างไร เมื่ออยู่ที่บ้าน ให้เด็กรับประทานผัก
คำตอบ
การรับประทานผักผลไม้ จะทำให้เด็กมีระบบขับถ่ายที่ดี มีสุขภาพที่ดี และควรเริ่มต้นให้เด็กทาน ฝักทอง ข้าวโพดอ่อน แครอท แตงกวา เป็นต้น และเมื่อลูกทานผักก็ควรจะปรบมือและกล่าวคำชม เพื่อเป็นกำลังใจให้เด็กชอบทานผัก
วันจันทร์ที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2558
บันทึกสะท้อนวันจันทร์ที่ 8 มิถุนายน 2558
สถานะการณ์ในห้องเรียนที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเพิ่ม มีเด็กมาเข้าเรียนใหม่อยู่ 1 คน พ่อแม่ทำอาชีพเฝ้าสวน เด็กไม่มีเพื่อนจึงไม่รู้จักใครก็ไม่อยากมาโรงเรียนและร้องงอแง
คำถามที่ 1
ครูจะทำอย่างไรให้เด็กเล็กเลิกร้องงอแง
คำตอบ
พาเด็กทำกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
คำถามที่ 2
ครูจะแนะนำอะไรบ้างเพื่อให้เด็กมีส่วนร่วมในกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
คำตอบ
ครูมีเพลงที่สนุก และเพื่อนก็ชอบ หนูจะได้มีเพื่อนไงคะ
คำถามที่ 3
เมื่อนักเรียนไม่ยอมลุกมาทำกิจกรรมเคลื่อนไหวเข้าจังหวะ ครูจะทำอย่างไร
คำตอบ
พูดให้กำลังใจ ยิ้มแย้มแจ่มใส ประคองเด็ก พาเข้าไปในกลุ่ม เพื่อมีส่วนร่วมกับเพื่อนๆ
คำถามที่ 4
ครูจะแนะนำผู้ปกครองอย่างไร ให้มีส่วนร่วมในการสนับสนุนให้เด็กอยากมาโรงเรียน
คำตอบ
การร้องเพลง การเล่น เปรียบเสมือนจัตุรัสแห่งการเรียนรู้ของเด็ก จากการเล่นจะทำให้เด็กได้รับการพัฒนาในด้านต่างๆ ผู้ปกครองควรพาลูกออกมาเดินเล่นข้างนอกบ้านบ้าง เล่นกับเพื่อนข้างบ้านบ้าง เพื่อให้เด็กได้รู้จักเพื่อนและรู้จักการเข้าสังคม จะทำให้เด็กอยากมาโรงเรียน
คำถามที่ 1
ครูจะทำอย่างไรให้เด็กเล็กเลิกร้องงอแง
คำตอบ
พาเด็กทำกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
คำถามที่ 2
ครูจะแนะนำอะไรบ้างเพื่อให้เด็กมีส่วนร่วมในกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
คำตอบ
ครูมีเพลงที่สนุก และเพื่อนก็ชอบ หนูจะได้มีเพื่อนไงคะ
คำถามที่ 3
เมื่อนักเรียนไม่ยอมลุกมาทำกิจกรรมเคลื่อนไหวเข้าจังหวะ ครูจะทำอย่างไร
คำตอบ
พูดให้กำลังใจ ยิ้มแย้มแจ่มใส ประคองเด็ก พาเข้าไปในกลุ่ม เพื่อมีส่วนร่วมกับเพื่อนๆ
คำถามที่ 4
ครูจะแนะนำผู้ปกครองอย่างไร ให้มีส่วนร่วมในการสนับสนุนให้เด็กอยากมาโรงเรียน
คำตอบ
การร้องเพลง การเล่น เปรียบเสมือนจัตุรัสแห่งการเรียนรู้ของเด็ก จากการเล่นจะทำให้เด็กได้รับการพัฒนาในด้านต่างๆ ผู้ปกครองควรพาลูกออกมาเดินเล่นข้างนอกบ้านบ้าง เล่นกับเพื่อนข้างบ้านบ้าง เพื่อให้เด็กได้รู้จักเพื่อนและรู้จักการเข้าสังคม จะทำให้เด็กอยากมาโรงเรียน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)